พาหุรัดดอทคอม ร้านสุวรรณพร พาหุรัด
ประกาศวันหยุด ลูกค้าที่ต้องการจะเข้ามารับสินค้าเอง กรุณาติดต่อทางร้านเพื่อนัดหมายก่อนการเดินทางนะครับ เดือนมีนาคม 2567 : วันอาทิตย์ที่ 3, (ส.9-อา.10), 17 , (ศ.22-อา.24), (ส.30 - อา.31) มีนาคม 2567 เดือนเมษายน 2567 : วันอาทิตย์ที่ 7, (ส.13-จ.15), 21, 28 เมษายน 2567 เดือนพฤษภาคม 2567 : วันอาทิตย์ที่ 5, 12, 19, 26 พฤษภาคม 2567 ต้องขออภัยในความไม่สะดวกมา ณ ที่นี้ บัญชีผู้ใช้  รถเข็น  ชำระค่าสินค้า  
การส่งสินค้าและการคืนสินค้า / การชำระเงิน / แผนที่ร้าน
  หน้าแรก » ประเภทสินค้า » ประเพณีสงกรานต์ บัญชีผู้ใช้  |  รถเข็น  |  ชำระค่าสินค้า   
ประเภทสินค้า
ศีรษะครู/หัวโขนละคร 196
ใบเสนอราคาชุดรำ & VDO

เครื่องประดับ
ปะเก็น
 312
เครื่องประดับ
โลหะ/พลาสติก
 244
เครื่องประดับ
เป่าแล่น
 33
อุปกรณ์รำ และอื่น ๆ 161

ชุดยืนเครื่องปักเลื่อม 164
ชุดฉุยฉายปักเลื่อม 110

ชุดยืนเครื่องปักดิ้น 178
ชุดฉุยฉายปักดิ้น 102

ระบำไทยโบราณคดี 72
ชุดระบำ 97
ชุดรำ 145
ชุดฟ้อน 55
ชุดเซิ้ง 3

ชุดรำวงมาตรฐาน

ชุดไทยพระราชนิยม 6
ชุดไทยสมัยต่าง ๆ 56

ชุดไทยประยุกต์ (เด็ก) 2
ชุดไทยประยุกต์ (ผู้ใหญ่)

เสื้่อชุดไทยผู้ชาย 27
เสื้อชุดไทยผู้หญิง
เกาะอก/เสื้อในนาง 30
ผ้าสไบต่าง ๆ 42
โจงกระเบน 49
กระโปรงพลีส/กระโปรงจินตลีลา 21
ผ้าถุง/ผ้านุ่ง/ผ้ายก 40

ชุดเครื่องแบบข้าราชการ 7
เสื้อผ้าตามเทศกาล 3
สูท/ทักซิโด้
เด็ก

สูท/ทักซิโด้/คอตั้ง
ผู้ใหญ่
 26

ชุดนานาชาติ

สินค้าจัดชุด 15
ชุดไทยสำหรับถวาย
(แก้บน)
 11
เสื้อ กางเกง (บอดี้สูท) 13
สินค้าลดราคา & สินค้าแนะนำ
สินค้าราคาพิเศษ
สินค้าลดราคา ล้างสต๊อก!!!
สินค้าลดราคา ต้อนรับเปิดเทอม
สินค้าตามช่วงเทศกาลที่กำลังจะมาถึง
สินค้าราคาพิเศษ มีอีก
ซิ่นไหมลาวเชิงในตัวเย็บสำเร็จ J
ซิ่นไหมลาวเชิงในตัวเย็บสำเร็จ J
฿480.00
฿280.00
สินค้ายอดนิยม
เข็มขัดยืด สีทองพลอยสี เส้นใหญ่
01.
เข็มขัดยืด สีทองพลอยสี เส้นใหญ่
เข็มขัดโบราณสีทอง B ขนาดใหญ่
02.
เข็มขัดโบราณสีทอง B ขนาดใหญ่
ปิ่นไม้ไหว สีทอง
03.
ปิ่นไม้ไหว สีทอง
เสื้อในนาง ผ้าตาด สีทอง
04.
เสื้อในนาง ผ้าตาด สีทอง
ผ้ายกละคร อย่างดี
05.
ผ้ายกละคร อย่างดี
ปิ่นไม้ไหว สีเงิน
06.
ปิ่นไม้ไหว สีเงิน
เสื้อในนาง มันตานี สีครีม
07.
เสื้อในนาง มันตานี สีครีม
ทับทรวงนาง สีทอง พร้อมสร้อย
08.
ทับทรวงนาง สีทอง พร้อมสร้อย
กระโปรงพลีส ผ้าตาด สีทอง ขนาดใหญ่
09.
กระโปรงพลีส ผ้าตาด สีทอง ขนาดใหญ่
เล็บสั้น สีทอง
10.
เล็บสั้น สีทอง
เสื้อคอกลม ผ้าต่วน(ผ้ามัน)
11.
เสื้อคอกลม ผ้าต่วน(ผ้ามัน)
เสื้อในนาง มันตานี สีเหลือง
12.
เสื้อในนาง มันตานี สีเหลือง
สาระน่ารู้
- ประเพณีสงกรานต์
- ตำนานกำเนิดวันสงกรานต์
- 7 นางสงกรานต์
ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีสงกรานต์

สงกรานต์

เทศกาลสงกรานต์ถือเป็นประเพณีวันขึ้นปีใหม่ของไทยมาแต่โบราณ
     เป็นประเพณีที่งดงาม อ่อนโยน เอื้ออาทร และเต็มไปด้วยบรรยากาศของความกตัญญู ความสนุกสนาน ความอบอุ่น และการให้เกียรติเคารพซึ่งกันและกัน สะท้อนให้เห็น ถึงลักษณะของความเป็นไทยได้อย่างชัดเจน โดยใช้น้ำเป็นสื่อในการเชื่อมสัมพันธไมตรี ปัจจุบันสงกรานต์ตรงกับวันที่ ๑๓,๑๔,และ๑๕ เมษายนของทุกปี ซึ่งรัฐบาลได้ประกาศให้เป็นวันหยุดราชการต่อเนื่องกัน เพื่อให้ประชาชนที่ทำงานในต่างท้องที่ได้กลับไปยังถิ่นฐานของตน เพื่อร่วมทำบุญ เยี่ยมเยียนบุพการีและสนุกสนานกับครอบครัว เพื่อนฝูง [คลิกที่นี่เพื่อดูประวัติ (ตำนาน) วันสงกรานต์อย่างพิศดาร]

 
ความเป็นมาและการเปลี่ยนแปลงวันขึ้นปีใหม่ของไทย
    
ในสมัยโบราณ ไทยเราถือเอา วันแรม ๑ ค่ำ เดือนอ้าย เป็น วันขึ้นปีใหม่ ซึ่งคนสมัยก่อนจะถือว่าฤดูเหมันต์ (ฤดูหนาว) เป็นการเริ่มต้นปี ซึ่งจะตกอยู่ราวปลายเดือนพฤศจิกายน หรือธันวาคม ต่อมาก็ได้เปลี่ยนแปลงไปตามคติพราหมณ์ ซึ่งมีรากเหง้ามาจากการสังเกตธรรมชาติและฤดูการผลิต วันปีใหม่จึงเปลี่ยนเป็น วันขึ้น ๑ ค่ำ เดือน หรือประมาณเดือนเมษายน อันเป็นการนับปีใหม่ตามเกณฑ์จุลศักราชโดยถือเอาวันมหาสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่ ครั้นในปี พ.ศ.๒๔๓๒ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้กำหนดให้วันที่ ๑ เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ซึ่งเป็นการนับทางสุริยคติแทน จวบจนกระทั่งปี พ.ศ.๒๔๘๓ รัฐบาลไทยสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามก็ได้ประกาศให้วันที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่ อันเป็นการนับปีใหม่แบบสากลนิยม ดังนั้น ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๘๔ เป็นต้นมาเราจึงมีวันขึ้นปีใหม่ตรงกับวันที่ ๑ มกราคม และใช้กันมาจนปัจจุบัน
 
สงกรานต์ปีใหม่แบบไทย
    
แม้เราจะนับวันที่ ๑ มกราคมของทุกปีเป็นวันขึ้นปีใหม่แบบสากลนิยมตามที่กล่าวมาแต่ด้วยลักษณะพิเศษและกิจกรรมที่คนในชุมชนได้ถือปฏิบัติสืบเนื่องมาแต่โบราณไม่ว่าจะเป็นการทำบุญทำทาน การอุทิศส่วนกุศลแด่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับ การสรงน้ำพระ การรดน้ำขอพรผู้ใหญ่ การเล่นสาดน้ำ และการละเล่นรื่นเริงต่างๆ ล้วนทำให้ชาวไทยส่วนใหญ่ยังถือประเพณีสงกรานต์เป็นปีใหม่แบบไทยๆ ที่เป็นเทศกาลแห่งความเอื้ออาทร เกื้อกูลผูกพันซึ่งกันและกัน
 
ความหมายของสงกรานต์
     คำว่า "สงกรานต์" มาจากภาษาสันสกฤต แปลว่า "ก้าวขึ้น" หรือ "ผ่าน" หรือ "เคลื่อนย้าย" หมายถึง การเคลื่อนย้ายของพระอาทิตย์จากราศีหนึ่งเข้าไปอีกราศีหนึ่ง เช่น เคลื่อนจากราศีพฤกษภไปสู่ราศีเมถุน ซึ่งจะเป็นเหตุการณ์ปกติที่เกิดขึ้นทุกเดือน เรียกว่าสงกรานต์เดือน ยกเว้นว่าเมื่อพระอาทิตย์เคลื่อนเข้าสู่ราศีเมษเมื่อใดก็ตามก็จะเรียกชื่อเป็นพิเศษว่า "มหาสงกรานต์" อันหมายถึงการก้าวขึ้นครั้งใหญ่ ซึ่งนับเป็นครั้งสำคัญ เพราะถือว่าวันนี้เป็นวันปีใหม่ตามคติพราหมณ์ โดยการนับทางสุริยคติ ซึ่งจะตกในราววันที่ ๑๓,๑๔ หรือ ๑๕ เมษายน ซึ่งแต่ละวันจะมีชื่อเรียกเฉพาะดังนี้
 

วันที่ ๑๓ เมษายน เรียกว่า "วันมหาสงกรานต์" หมายถึง วันที่พระอาทิตย์เคลื่อนเข้าสู่ราศีเมษอีกครั้ง หลังจากผ่านเข้าสู่ราศีอื่น ๆ แล้วจนครบ ๑๒ เดือน
วันที่ ๑๔ เมษายน เรียกว่า "วันเนา" แปลว่า วันอยู่ หมายถึง วันที่ดวงอาทิตย์เข้าเคลื่อนเข้าสู่ราศีเมษอันเป็นราศีตั้งต้นปี เข้าที่เข้าทางเรียบร้อยแล้ว
วันที่ ๑๕ เมษายน เรียกว่า "วันเถลิงศก" เป็นวันเปลี่ยนจุลศักราชใหม่ ถือเป็นวันเริ่มปีศักราชใหม่ การกำหนดให้อยู่วันนี้ก็เพื่อให้แน่ใจว่าดวงอาทิตย์โคจรขาดจากราศีมีนมาสู่ราศีเมษแล้วอย่างน้อย ๑ องศา

    
ทั้งสามวันนี้ ถ้าหากดูตามประกาศสงกรานต์ และการคำนวณตามหลักโหราศาสตร์จริง ๆ ก็จะมีการคลาดเคลื่อนไม่ตรงกันบ้าง เช่น วันมหาสงกรานต์ อาจจะเป็นวันที่ ๑๔ เมษายน แทนที่จะเป็นวันที่ ๑๓ เมษายน แต่เพื่อให้จดจำได้ง่าย จึงกำหนดเรียกตามที่กล่าวข้างต้น
 
คุณค่าสาระประเพณีสงกรานต์
    
การที่สงกรานต์ยังเป็นประเพณีที่ไทยเรายังถือปฏิบัติ และสามารถสืบทอดต่อเนื่องมาจนทุกวันนี้ ก็เพราะความหมาย คุณค่า และสาระที่แฝงอยู่ คือ
     -
คุณค่าต่อครอบครัว ทำให้เกิดความรักความผูกกกพันในครอบครัว เช่น สมาชิกในครอบครัวมาทำบุญร่วมกัน ลูกหลานมารดน้ำขอพรจากพ่อแม่เพื่อเป็นสิริมงคลในการเริ่มต้นปีใหม่
     - คุณค่าต่อชุมชน
เป็นวันที่ก่อให้เกิดความสมัครสมานในชุมชน เช่น การได้มาพบปะสังสรรค์ ทำบุญร่วมกันในวัด ชมการละเล่นสนุกสนาน หรือเล่นสาดน้ำในหมู่เพื่อนฝูง คนรู้จักด้วยมิตรไมตรี
     - คุณค่าต่อสังคม
เป็นประเพณีที่ก่อให้เกิดความเอื้ออาทรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การทำความสะอาดบ้านเรือน สิ่งของเครื่องใช้ของตนให้สะอาดหมดจดเพื่อต้อนรับปีใหม่ด้วยความแจ่มใส เบิกบาน หรือช่วยทำความสะอาดสาธารณสถานต่าง ๆ ไม่ว่าวัดวาอาราม อาคารสถานที่ราชการ เป็นต้น
 
   - คุณค่าต่อศาสนา การทำบุญ ตักบาตรเลี้ยงพระ ฟังเทศน์ สรงน้ำพระ ปฏิบัติธรรมหรือปล่อยนกปล่อยปลา เหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นการสืบทอดพระพุทธศาสนาและเป็นการปฏิบัติที่นำความรุ่งเรืองมาสู่ชีวิตทั้งสิ้น

ขอขอบคุณ
เว็บมาสเตอร์ http://www.songkran.net
บริษัทสยามแกลเลอรี่ จำกัด, สำนักพิมพ์ผ่านฟ้าพาณิชย์,
ที่เอื้อเฟื้อภาพประกอบและที่มาของข้อมูล
ที่มา: http://www.mahamodo.com/knowledge/water_festival.aspx

ดำเนินการต่อ
รถเข็น มีอีก
0 รายการ
มีอะไรใหม่?
หมวกเทวดา-ลอมพอกขาว ตุ้งติ้ง แบบโบราณ
01.
หมวกเทวดา-ลอมพอกขาว ตุ้งติ้ง แบบโบราณ
เชือกฝ้ายสำหรับมัดชุด หรือมัดผ้าโจงกระเบน (กว้าง 1 นิ้ว ยาว 2.5)
02.
เชือกฝ้ายสำหรับมัดชุด หรือมัดผ้าโจงกระเบน (กว้าง 1 นิ้ว ยาว 2.5)
ต้นแขนระบำทวารวดี ลายใบโพธิ์ ผู้ใหญ่ สีเงิน
03.
ต้นแขนระบำทวารวดี ลายใบโพธิ์ ผู้ใหญ่ สีเงิน
ต้นแขนระบำทวารวดี ลายใบโพธิ์ ผู้ใหญ่ สีทอง
04.
ต้นแขนระบำทวารวดี ลายใบโพธิ์ ผู้ใหญ่ สีทอง
สร้อยโช๊คเกอร์ มุข 4 ชั้น จี้เพชรลายดอกไม้ พร้อมต่างหู
05.
สร้อยโช๊คเกอร์ มุข 4 ชั้น จี้เพชรลายดอกไม้ พร้อมต่างหู
ต้นแขนโลหะอย่างดี C พลอยแดง
06.
ต้นแขนโลหะอย่างดี C พลอยแดง
หัวเข็มขัดโลหะ อย่างดี C พลอยแดง
07.
หัวเข็มขัดโลหะ อย่างดี C พลอยแดง
พวงมาลัยปลอมใหญ่ ดอกกุหลาบ สีชมพู
08.
พวงมาลัยปลอมใหญ่ ดอกกุหลาบ สีชมพู
พวงมาลัยปลอมใหญ่ ดอกกุหลาบ สีฟ้า
09.
พวงมาลัยปลอมใหญ่ ดอกกุหลาบ สีฟ้า
พวงมาลัยปลอมใหญ่ ดอกกุหลาบ สีบานเย็น
10.
พวงมาลัยปลอมใหญ่ ดอกกุหลาบ สีบานเย็น
ค้นหาด่วน
 
ใช้คำสำคัญในการค้นหาสินค้าที่ต้องการ
ค้นหาอย่างละเอียด
ข้อมูลอื่นๆ

การส่งสินค้าและการคืนสินค้า


การชำระเงิน


นโยบายความเป็นส่วนตัว


ข้อตกลงในการใช้งาน


ติดต่อเรา


แผนที่ร้าน
บริษัทไปรษณีย์ไทย
วิจารณ์ มีอีก
ยังไม่มีคำวิจารณ์สินค้า
ข้อมูลสถิติ

Copyright © 2024 พาหุรัดดอทคอม ร้านสุวรรณพร พาหุรัด